วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 3

 
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
เวลา ( 12.30 - 15.30 น. )
👉 กิจกรรมการเรียนการสอน

● ประสบการณ์การ > คิดคล่องแคล่ว > สมอง EF

● กระบวนการประสาทสัมผัสทั้ง 5 ( การเล่น ) เป็นวิธีการเรียนรู้ > 
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม > ประเมินได้

● การซึมซับเปรียบเสมือนฟองน้ำ


👉 กิจกรรมที่ 1 ปฏิบัติในห้องเรียน

อาจารย์จินตนา แจกเชือกให้คนละ 1 เส้น จากนั้นให้นักศึกษา ลองโยนเชือกผลปรากฏว่า เชือกเปลี่ยน

รูปร่างเมื่อตกลงสู่พื้นและดิ่งลงสู่พื้นแต่กระดาษ จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เมื่อตกลงสู่พื้นและ พริ้วลงเมื่อตกลงสู่พื้น


👉 การนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมนี้

- การสอนในหน่วยวิทยาศาสตร์คือการให้เด็กทำท่าเคลื่อนไหวตามกระดาษหรือเชือก


👉 กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติในห้องเรียน

● จับกลุ่ม นำเชือกมาต่อเป็นเรือและให้สมาชิกทุกคนนั่งในเรือให้ครบทุกคน

● จับกลุ่ม และนำขนาดของเชือกที่แต่ละคนมีความยาวขนาดแตกต่างกัน มาต่อเป็นรูปร่าง

● นำหนังสือพิมพ์มาตกแต่งแม่ย่านางประจำเรือและให้ แม่ย่านางประจำเรือผู้นำเสนอชื่อเรือมาจากที่ไหน และให้สมาชิกที่อยู่ในเรือออกแบบท่าพายเรือ


👉 การนำไปประยุกต์ใช้ ในกิจกรรมนี้คือ

- สอนในหน่วยคณิตศาสตร์ผ่านกิจกรรมศิลปะ

- เนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน

- เรือมีชื่อเรียกต่างกันอย่างไร

- วัฒนธรรมยึดถือของแม่ย่านางมีอะไรบ้าง

- บทบาทหน้าที่ของการพายเรือ เด็กได้รับประโยชน์จากกิจกรรมนี้มีอะไรบ้าง

1. การตั้งชื่อเด็กได้ภาษาในการอธิบาย

2. คณิตศาสตร์ การแบ่งให้คนนั่งในเรือในพื้นที่กับจำนวนมีการคิดวางแผน

3. วิทยาศาสตร์ ในเรื่องของน้ำหนัก เวลาพาย

4. เด็กสามารถสร้างชิ้นงานทางศิลปะได้และการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ


👉 กิจกรรมที่ 3 ปฏิบัติในห้องเรียน

อาจารย์จินตนาตั้งคำถาม ว่าปากกานำมาใช้ทำเป็นอะไรได้บ้าง














การประเมิน

ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนเเละมีความสุขกับการทำกิจกรรมต่างๆค่ะการเรียนค่ะ

ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆมีความสุขกับการทำกิจกรรมค่ะ

ประเมินอาจารย์ : อาจารย์จัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กปฐมวัยได้ค่ะ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บันทึกครั้งที่ 11

วันศุกร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2563 เวลา ( 12.30 - 15.30 น. ) กิจกรรมการเรียนการสอน 👉 อาจารย์จินตนาอธิบายเนื้อหาในบทบาทของผู้ปกคร...